1. สาระสำคัญของ TFRS 9 เครื่องมือทางการเงินที่เริ่มบังคับใช้ 1 ม.ค.63
1.1 ภาพรวมของเครื่องมือทางการเงิน
1.2 ราคายุติธรรมที่ใช้วัดเครื่องมือทางการเงินตาม TFRS 13
2.TAS 32 การแสดงรายการเครื่องมือทางการเงิน
2.1 คำนิยามของเครื่องมือทางการเงิน
2.2 สินทรัพย์ทางการเงิน และหนี้สินทางการเงิน
2.3 การแสดงรายการเครื่องมือทางการเงิน และการแยกประเภทหนี้สินทางการเงิน และ ทุน
2.4 การหักกลบ และเครื่องมือทางการเงินแบบผสม
2.5 ตราสารหนี้ที่มีลักษณะคล้ายทุน
3. การจัดประเภทและวัดมูลค่ารายการ ตาม TFRS 9 เครื่องมือทางการเงิน
3.1 การจัดประเภทสินทรัพย์ทางการเงิน
3.2 การประเมิน Business model
3.3 การประเมินกระแสเงินสดซึ่งกำหนดให้จ่ายเพียงเงินต้นและดอกเบี้ยจากยอดคงเหลือของเงินต้น (SPPI Test)
3.4 การวัดมูลค่าสินทรัพย์ทางการเงิน
3.5 การจัดประเภทหนี้สินทางการเงิน
3.6 การวัดมูลค่าหนี้สินทางการเงิน
4. อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (Effective interest rate)
5. ทำความรู้จักกับอนุพันธ์ทางการเงิน (Derivative)
6. การด้อยค่าตาม TFRS 9 เครื่องมือทางการเงิน
6.1 ขอบเขตของการด้อยค่าตาม TFRS9
6.2 การด้อยค่าตามวิธี General impairment model และทำความรู้จักกับวิธีผลขาดทุนจากมูลค่าที่คาดหวัง (Expected credit loss)
6.3 วิธีผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น 3 ระยะผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้าและตลอดอายุของเครื่องมือทางการเงินรวมถึง
การคำนวณดอกเบี้ยรับ (Tree-stage approach in terms of 12 month and lifetime expected credit losses, calculation of interest income)
6.4 การนำโมเดลการด้อยค่ามาใช้ (Application of IFRS 9 impairment model) และ การนำข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคตมาพิจารณา(Incorporating forward looking information)
6.5 การประเมินการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสำคัญของความเสี่ยงด้านเครดิต (Assessment of significant changes in credit risk)
6.6 วิธีการพิจารณาด้อยค่าและข้อผ่อนปรนในทางปฏิบัติสำหรับลูกหนี้การค้า สินทรัพย์ที่เกิดจากสัญญา ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าและสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยง ด้านเครดิต
6.7 ตัวอย่างและกรณีศึกษาการด้อยค่าตาม TFRS9
7. การบัญชีป้องกันความเสี่ยงทั่วไป ตาม TFRS 9 เครื่องมือทางการเงิน
7.1 ภาพรวมของการบัญชีป้องกันความเสี่ยง (Hedge accounting)
7.2 ความหมายและวัตถุประสงค์ของการป้องกันความเสี่ยง
7.3 ตัวอย่างของการป้องกันความเสี่ยง
7.4 ประเภทของการป้องกันความเสี่ยง
7.5 การบัญชีป้องกันความเสี่ยงกับกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง
7.6 การป้องกันความเสี่ยงมูลค่ายุติธรรม
7.7 การป้องกันความเสี่ยงกระแสเงินสด
7.8 การป้องกันความเสี่ยงเงินลงทุนสุทธิ
7.9 รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง
7.10 เครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง
7.11 การเข้าเงื่อนไขการป้องกันความเสี่ยง
8. TFRS7 การเปิดเผยเครื่องมือทางการเงิน
8.1 วัตถุประสงค์ของการเปิดเผย
8.2 รูปแบบและสิ่งที่ต้องเปิดเผยเกี่ยวกับเครื่องมือทางการเงิน
8.3 ลักษณะของการเปิดเผยเครื่องมือทางการเงิน
9. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
รอบ | วันที่ | เวลา | สถานที่ |
---|---|---|---|
1 | อังคารที่ 18 ส.ค. 2020 | 09:00 - 16:30 น. | โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน |